Formulation ของวัคซีน

โซลูชันในห้องปฏิบัติการสำหรับการทดสอบ การควบคุมคุณภาพ และการพัฒนาวัคซีน

สอบภามราคา
ภาพระยะใกล้ของไวรัส
วัคซีนที่ใช้ไวรัส
  • วัคซีนที่ใช้ไวรัส แนวทางหลัก 2 ประการเกี่ยวกับวัคซีนที่ใช้ไวรัสทั้งตัวมีดังนี้
    • วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิตอ่อนฤทธิ์ ซึ่งใช้ไวรัสที่ผ่านการทำให้อ่อนแรงลงแล้วและยังสามารถแบ่งตัวได้โดยไม่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วย
    • วัคซีน “เชื้อตาย” ซึ่งใช้ไวรัสที่ไม่สามารถแบ่งตัวได้แต่ยังคงกระตุ้นการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน เนื่องจากยังคงเก็บแอนติเจนที่มีอยู่ในโครงสร้างไวรัสเอาไว้
วัคซีนชนิดใช้ไวรัสลูกผสมเป็นพาหะ
  • วัคซีนชนิดใช้ไวรัสลูกผสมเป็นพาหะ วัคซีนที่ใช้ไวรัสเป็นพาหะจะใช้ไวรัสที่ผ่านการทำให้อ่อนฤทธิ์ลงแล้วชนิดอื่น (อะดีโนไวรัส) ในการเข้าควบคุมกลไกของเซลล์และสั่งการให้เซลล์ของโฮสต์ผลิตแอนติเจนที่กระตุ้นการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน
     
วัคซีนที่ผลิตจากส่วนประกอบบางส่วนของเชื้อโรค/วัคซีนที่ผลิตจากโปรตีนตัดต่อ
  • วัคซีนที่ผลิตจากส่วนประกอบบางส่วนของเชื้อโรค/วัคซีนที่ผลิตจากโปรตีนตัดต่อ วัคซีนที่ผลิตจากโปรตีนตัดต่อหรือวัคซีนที่ผลิตจากโปรตีนส่วนหนึ่งของเชื้อ จะใช้ชิ้นส่วนของเชื้อโรคที่ผลิตขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีดีเอ็นเอลูกผสม (Recombinant DNA Technology)
วัคซีนทอกซอยด์
  • วัคซีนทอกซอยด์ วัคซีนทอกซอยด์เตรียมขึ้นด้วยการนำพิษที่ปล่อยออกจากแบคทีเรียมาทำให้อ่อนฤทธิ์ลง เทคโนโลยีนี้ได้รับการพัฒนาจนถึงจุดอิ่มตัว และมีการใช้วัคซีนประเภทนี้เพื่อป้องกันโรคต่างๆ ทั่วโลก เช่น โรคบาดทะยักและโรคคอตีบ
วัคซีนคอนจูเกตสารชีวโมเลกุล
  • วัคซีนคอนจูเกตสารชีวโมเลกุล วัคซีนคอนจูเกตสารชีวโมเลกุลจะปรับเปลี่ยนหรือรวมส่วนประกอบของวัคซีนที่ต่างกันตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป โดยผ่านกระบวนการเชิงกล กระบวนการทางเคมี หรือกระบวนการเร่งปฏิกิริยาด้วยกลไกทางชีวภาพ (ด้วยเอนไซม์)
วัคซีน mRNA และวัคซีน pDNA
  • วัคซีน mRNA และวัคซีน pDNA วัคซีนกรดนิวคลีอิก ได้แก่ วัคซีน mRNA และ pDNA (พลาสมิด DNA แบบวงแหวน) วัคซีนเหล่านี้ใช้สารพันธุกรรม ไม่ว่าจะเป็น RNA หรือ DNA เพื่อให้เซลล์ได้รับคำสั่งสร้างแอนติเจน เมื่อเข้าไปในเซลล์ของมนุษย์แล้ว วัคซีน mRNA หรือ pDNA จะใช้กลไกโปรตีนของเซลล์เพื่อสร้างแอนติเจนที่จะกระตุ้นการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน
สารเสริมฤทธิ์วัคซีนที่สามารถใช้ได้
สารทำให้คงตัวและสารช่วยทางเภสัชกรรมในวัคซีน

1. คัดกรองและเลือกสารเสริมฤทธิ์

การคัดกรองสารเสริมฤทธิ์

2. ประเมินปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนกับสารเสริมฤทธิ์

ปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนกับสารเสริมฤทธิ์และการคัดกรอง

3. เพิ่มความเสถียรของวัคซีน

การเพิ่มประสิทธิภาพของวัคซีนจากหลายปัจจัย

4. ทำการกรองเพื่อเพิ่มความเข้มข้นขั้นสุดท้าย

5. นำ Formulation ในขั้นสุดท้ายมาผ่านการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง

การกำหนดลักษณะเฉพาะของอนุภาคในแหล่งกำเนิดด้วย PAT

การวัดปริมาณความร้อนด้วยการกราดวิเคราะห์เชิงผลต่าง (DSC) และอุณหภูมิ

การไทเทรตแบบ Karl Fischer (KF) และปริมาณน้ำ

สเปกโทรสโคปี ยูวี วิส

การไทเทรตแบบ Karl Fischer (KF)

การปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับด้านการพัฒนาวัคซีน
ชุดซอฟต์แวร์ iC
ซอฟต์แวร์ LabX สำหรับห้องปฏิบัติการ

คำถามที่พบบ่อย