คู่มือ

การควบคุมอุณหภูมิสำหรับเทคนิคสเปกโตรสโกปี UV Vis

คู่มือ

ควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์ในช่วงความยาวคลื่น UV Vis

การควบคุมอุณหภูมิ
การควบคุมอุณหภูมิ

การควบคุมอุณหภูมิเป็นตัวแปรสำคัญใน การใช้เทคนิคสเปกโตรสโกปี UV Vis โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการวิเคราะห์ตัวอย่างสารอินทรีย์ที่ไวต่ออุณหภูมิ ในคู่มือฉบับใหม่ เราจะอธิบายถึงความสำคัญของการควบคุมอุณหภูมิโดยยกตัวอย่างการใช้งานทั่วไป เช่น การทำงานของไลเปส การแปลงสภาพโปรตีน จุดหลอมเหลวของ DNA และจลนศาสตร์ของเบตา-กาแล็กโตสิเดสตามหลักการของมิเคลิส-เมนเทน

คู่มือนี้ยังให้ข้อมูลโดยละเอียดเกี่ยวกับโซลูชันการควบคุมอุณหภูมิที่เกิดขึ้นสำหรับ เครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ UV/VIS Excellence ของ METTLER TOLEDO ดังนี้

  • CuveT – การควบคุมอุณหภูมิของตัวอย่างเดียว
  • CuvetteChanger – การควบคุมอุณหภูมิของตัวอย่างหลายตัว
ดาวน์โหลดคู่มือการควบคุมอุณหภูมิในช่วงความยาวคลื่น UV/VIS ฟรีและพบข้อดีจากกลเม็ดเคล็ดลับที่ใช้ได้จริงสำหรับเทคนิคสเปกโตรสโกปี UV Vis ที่มีการควบคุมอุณหภูมิในงานประจำวันได้ในคำถามที่พบบ่อย

1. ข้อมูลสรุปสำหรับผู้บริหาร

คู่มือนี้จะอธิบายถึงความสำคัญของการควบคุมอุณหภูมิที่แน่นอนสำหรับการตรวจวัดด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปี โดยยกตัวอย่างจากการใช้งานทั่วไปด้านชีววิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีกลเม็ดเคล็ดลับที่ใช้ได้จริงสำหรับการวัดที่แม่นยำในช่วงความยาวคลื่น UV Vis เมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยใช้อุปกรณ์เสริมอย่าง CuveT และ CuvetteChanger สำหรับกลุ่มผลิตภัณฑ์ UV/VIS Excellence ของ METTLER TOLEDO

2. บทนำ

การควบคุมอุณหภูมิในเทคนิคสเปกโตรสโกปี UV Vis โดยทั่วไปนั้นเป็นการสร้างสภาวะอุณหภูมิที่กำหนดไว้ a) ก่อน, b) ระหว่าง หรือ c) หลังการวัดด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปีดังตัวอย่างด้านล่าง:

a) ตัวอย่าง/การวิเคราะห์อาจต้องดำเนินการที่อุณหภูมิที่แน่นอนเพื่อชะลอการสลายตัว หรือเพื่อให้เกิดสภาวะที่เหมาะสมที่สุดสำหรับปฏิกิริยาของสารตั้งต้นที่จำเป็นสำหรับปฏิกิริยา (ทางเคมี) ที่ตามมา ซึ่งจะวิเคราะห์ด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปีที่อุณหภูมิจำเพาะ

b) กำหนดสภาวะอุณหภูมิที่คงที่หรือเปลี่ยนแปลงตามโปรโตคอลการเพิ่มอุณหภูมิที่กำหนด โดยสภาวะดังกล่าวกระตุ้นปฏิกิริยาทางเคมีที่ต้องทำการตรวจสอบด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปี

c) กำหนดสภาวะอุณหภูมิก่อนหน้าหรืออุณหภูมิที่ต่างกันอีกครั้งสำหรับการวัดด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปีในภายหลังเพื่อตรวจสอบปฏิกิริยาผันกลับ (ทางเคมี)

[…]

ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ใน คู่มือควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์ในช่วงความยาวคลื่น UV/VIS

 

3. ตัวอย่างการใช้งานสำหรับเทคนิคสเปกโตรสโกปี UV Vis ที่ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ

3.1 การกำหนดการทำงานของไลเปส

การกำหนดการทำงานของไลเปสเป็นตัวอย่างที่จำเป็นต้องใช้อุณหภูมิที่สูงกว่าสภาพแวดล้อมโดยรอบเพื่อสร้างสภาวะที่เหมาะสมที่สุดสำหรับปฏิกิริยาเคมีที่มีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งต้องทำการตรวจสอบด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปี

[…]

3.2 การแปลงสภาพโปรตีนที่เกิดจากอุณหภูมิ

[…]

3.3 จลนศาสตร์ของเบตา-กาแล็กโตสิเดสตามหลักการของมิเคลิส-เมนเทน

[…]

3.4 อุณหภูมิหลอมเหลวของ DNA

[…]

ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ใน คู่มือควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์ในช่วงความยาวคลื่น UV/VIS

 

4. CuveT เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบใช้เพลเทียร์จาก METTLER TOLEDO

CuveT เป็นเทอร์โมสตัทเทอร์โมอิเล็กทริก (แบบใช้เพลเทียร์) แบบคูเวตเดียวซึ่งควบคุมอุณหภูมิได้อย่างมีประสิทธิภาพในช่วงอุณหภูมิตั้งแต่ 4°C ถึง 95°C ในการใช้งานเทคนิคสเปกโตรสโกปี UV Vis ระบบควบคุมอุณหภูมินี้สามารถเชื่อมต่อกับเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ UV7, UV5Bio และ UV5 UV/VIS Excellence จาก METTLER TOLEDO ได้ โดยเครื่องนี้สามารถวางไว้บนของเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ได้และไม่ต้องใช้เครื่องมือใดๆ ในการติดตั้ง

[…]

ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ใน คู่มือควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์ในช่วงความยาวคลื่น UV/VIS

 

5. กลเม็ดเคล็ดลับที่ใช้ได้จริงสำหรับการควบคุมอุณหภูมิด้วย CuveT

บทนี้นำเสนอกลเม็ดเคล็ดลับที่ใช้ได้จริงในรูปแบบคำถามที่พบบ่อยสำหรับการวัดที่ใช้เทคนิคสเปกโตรสโกปี UV Vis ที่มีการควบคุมอุณหภูมิในงานประจำวันด้วย CuveT

[…]

ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ใน คู่มือควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์ในช่วงความยาวคลื่น UV/VIS

 

6. การควบคุมอุณหภูมิด้วย CuvetteChanger จาก METTLER TOLEDO

CuvetteChanger จาก METTLER TOLEDO ช่วยให้คุณทำการตรวจวัดแบบอัตโนมัติอย่างมีประสิทธิภาพได้สูงสุด 8 คิวเวตสำหรับทั้งการตรวจวัดโดยใช้สารตั้งต้นที่มีค่าสารละลายว่างเปล่าหรือการใช้จลนศาสตร์ที่ซับซ้อน ด้วยการใช้เทอร์โมสตัทภายนอก ทำให้สามารถควบคุมอุณหภูมิของตัวอย่างในคิวเวตในช่วงอุณหภูมิ 10–80°C ได้

[…]

ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ใน คู่มือควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์ในช่วงความยาวคลื่น UV/VIS

 

7. เอกสารอ้างอิง

[1] www.mt.com/uv-vis

[2] www.mt.com/cuvet-peltier-uvvis

[3] Determination of Lipase Activity, Method PNAB-LIP39, Biocon Española S.A.

[4] Journal of Chemical Education, March 2000, DOI: 10.1021/ed077p 380

[5] 1. Enzyme Handbook, II, Barman, T. E., Springer- Verlag (Berlin-Heidelberg: 1969), p. 581.

เอกสารไวท์เปเปอร์ที่เกี่ยวข้อง