คู่มือ
ทักษะความชำนาญ

พื้นฐานการไทเทรต: คู่มือพื้นฐานของทฤษฎีการไทเทรต

คู่มือ
ทักษะความชำนาญ

เพิ่มเติมความรู้โดยการศึกษาทฤษฎีและหลักปฏิบัติสำหรับการไทเทรต

ทฤษฎีการไทเทรต
ทฤษฎีการไทเทรต

คู่มือนี้มีจุดประสงค์เพื่อเป็นการแนะนำขั้นแรกเกี่ยวกับทฤษฎีการไทเทรตหลักปฏิบัติสำหรับการไทเทรตแบบทั่วไปและแบบ Karl Fischer
ซึ่งจะให้ความรู้ขั้นพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อทำความเข้าใจการไทเทรต โดยจะอธิบายถึงปฏิกิริยาทางเคมีประเภทต่างๆ หลักการบ่งชี้ และประเภทการไทเทรตสำหรับการไทเทรตทั่วไป และจะเปรียบเทียบการไตเตรทแบบแมนนวลและแบบอัตโนมัติ และสุดท้าย จะให้กลเม็ดเคล็ดลับการใช้งานสำหรับการไทเทรตแบบทั่วไปและแบบ Karl Fischer

การไทเทรตคือเทคนิคการวิเคราะห์ที่ใช้งานอย่างกว้างขวางในหลายสาขา อาทิ อุตสาหกรรมเคมีอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมอิเล็กโทรนิกส์ เป็นต้น การไทเทรตจะจัดหมวดหมู่ตามปฏิกิริยาทางเคมีที่เกิดขึ้น และหลักการบ่งชี้ที่ใช้เพื่อตรวจสอบปฏิกิริยา การไทเทรตโหมด EP และ EQP รวมถึงการคำนวณที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทสำคัญในการวิเคราะห์โดยรวม

เสริมความรู้โดยการศึกษาทฤษฎีและหลักปฏิบัติสำหรับการไตเตรตเร่งความสามารถเพื่อกำหนดอนาคต

และความรู้เกี่ยวกับ:

  1. ประโยชน์ของการไทเทรต
  2. ทฤษฎีการไทเทรต
  3. การคำนวณสำหรับการไทเทรตที่ซับซ้อน
  4. ส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องในการไทเทรต
  5. การตรวจสอบยืนยันประสิทธิภาพการทำงานของการไทเทรต
  6. ปฏิกิริยาและทฤษฏีการไทเทรตแบบ Karl Fischer

ข้อดีจากคู่มือนี้และการเพิ่มความรู้ของคุณเกี่ยวกับทฤษฎีการไทเทรต

ดาวน์โหลดคู่มือเพื่อเรียนรู้ทุกสิ่งทุกอย่างเกี่ยวกับพื้นฐานของการไทเทรต คุณจะพบกับความรู้พื้นฐานที่มีประโยชน์เกี่ยวกับเทคนิคที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายนี้

1 นิยามของการไทเทรต

การไทเทรตเป็นเทคนิคการวิเคราะห์ที่ช่วยให้สามารถวัดปริมาณของสารบางอย่าง (สารที่ต้องการวิเคราะห์) ที่ละลายอยู่ในตัวอย่าง ซึ่งอ้างอิงจากปฏิกิริยาทางเคมีสมบูรณ์ระหว่างสารที่วิเคราะห์และสารทำปฏิกิริยา (ไทแทรนต์) ของความเข้มข้นที่ทราบอยู่แล้ว ซึ่งเพิ่มลงในตัวอย่าง:

สารที่วิเคราะห์ + สารทำปฏิกิริยา (ไทแทรนต์) = ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยา

ดูวิดีโอของเรา: การไทเทรตคืออะไร?

ดาวน์โหลดคู่มือพื้นฐานการไทเทรตเพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีการไตเตรท

2 ข้อของการพัฒนาทางประวิตศาสตร์

จากการไทเทรตแบบแมนนวลสู่ระบบอัตโนมัติ

วิธีการดั้งเดิมในการไทเทรตคือการใช้กระบอกตวงแก้ว (บูลีน) และควบคุมการเติมไทแทรนต์ด้วยมือ สีที่เปลี่ยนไปจะบ่งชี้ถึงการสิ้นสุดของปฏิกิริยาไทเทรต (จุดยุติ)

การไทเทรตผ่านการพัฒนามาอย่างจริงจัง: ทั้งแบบแมนนวลและแบบใช้หลอดลูกสูบที่ขับเคลื่อนด้วยมอร์เตอร์ในเวลาต่อมา

ดาวน์โหลดคู่มือพื้นฐานการไทเทรตเพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีการไทเทรต

3 ขอบเขตการใช้งาน

มีการใช้งานการไทเทรตกับเทคนิคการวิเคราะห์อย่างกว้างขวางในหลากหลายสาขา

ด้านล่างนี้คือตัวอย่างบางส่วน:

  • อาหารและเครื่องดื่ม

……
……
……

 

ดาวน์โหลด พื้นฐานการไทเทรตเพื่อดูขอบเขตการใช้งานทั้งหมดและอื่นๆ อีกมากมาย!

4 ประโยชน์ของการไทเทรต

มีเหตุผลมากมายที่ห้องปฏิบัติการทั่วโลกใช้การไทเทรตด้านล่างนี้คือการเปรียบเทียบการไทเทรตแบบแมนวลและแบบอัตโนมัติ:

ดาวน์โหลดคู่มือพื้นฐานการไทเทรตเพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีการไทเทรต

5 ทฤษฎีการไทเทรต

การไทเทรตจะจัดหมวดหมู่ตามปฏิกิริยาทางเคมีที่เกิดขึ้น และหลักการบ่งชี้ที่ใช้เพื่อตรวจสอบปฏิกิริยา

  •  5.1 ประเภทของปฏิกิริยาทางเคมี

มีปฏิกิริยาหลักที่ใช้กับการไทเทรตอยู่ 3 ประเภท ด้านล่างนี้คือรายการของปฏิกิริยาพร้อมตัวอย่างและการใช้งานทั่วไป

 

การทำปฏิกิริยากรด/เบส:

HCl + NaOH    ↔     NaCl  + H2O

 

เครื่องไทเทรต EasyPlus™ Easy pH จาก METTLER TOLEDO มาพร้อมทุกสิ่งที่จำเป็นต่อการไทเทรตกรด/เบสที่ประสบความสำเร็จ

  • 5.2 หลักการการบ่งชี้
    • 5.2.1 การไทเทรตแบบแมนนวล
    • 5.2.2 การไทเทรตแบบกึ่งหรือแบบอัตโนมัติ
  • 5.3 โหมดการไทเทรต – จุดยุติ / จุดสมมูล
    • 5.3.1 การไทเทรตแบบแมนนวล
    • 5.3.2 การไทเทรตที่จุดสมมูล (EQP)
  • 5.4 ประเภทการไทเทรต
    • 5.4.1 การไทเทรตโดยตรง
    • 5.4.2 การไทเทรตแบบชดเชยช่องว่าง
    • 5.4.3 การไทเทรตย้อนกลับ

 

6 การควบคุมการไทเทรต

เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานจะเป็นผู้ควบคุมการไทเทรตแบบแมนนวลด้วยตนเอง การเติมไทแทรนต์จะควบคุมด้วยมือ และจะตรวจสอบปฏิกิริยาและการบ่งชึ้จุดยุกติด้วยสายตาเป็นส่วนใหญ่

  • 6.1 การไทเทรตแบบแมนนวล
  • 6.2 การไทเทรตแบบอัตโนมัติ
    • 6.2.1 การเติมไทแทรนต์
    • 6.2.2 การหาค่าที่วัด

ดาวน์โหลดคู่มือพื้นฐานการไทเทรตเพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีการไทเทรต

7 การคำนวณ

การคำนวณผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายจะขึ้นอยู่กับการใช้ ไทแทรนต์ ตลอดจนปริมาณสัมพันธ์ของปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างสารที่วิเคราะห์และไทแทรนต์

  • 7.1 ปริมาณสัมพันธ์และจำนวนเทียบเท่า
  • 7.2 การคำนวณผลลัพธ์

ดาวน์โหลดคู่มือพื้นฐานการไตเตรทเพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีการไตเตรท

8 ส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องในการไทเทรต

  • 8.1 ไทแทรนต์
    ไทแทรนต์คือสารละลายสารที่เป็นตัวทำปฏิกิริยาบางอย่าง ซึ่งมีปฏิกิริยากับสารที่วิเคราะห์ในตัวอย่าง โดยปกติแล้วความเข้มบางจำนวนเล็กน้อยจะแสดงใน…
    • 8.1.1 การหาความเข้มข้นของไทแทรนต์
  • 8.2 เซ็นเซอร์
    •  8.2.1 เซ็นเซอร์วัดค่า pH และการตรวจวัด (การไทเทรตกรด/เบส)
      • 8.2.1.1 เซ็นเซอร์วัดค่า pH และอุณหภูมิ

ดาวน์โหลดคู่มือพื้นฐานการไทเทรตเพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีการไทเทรต

9 การตรวจสอบยืนยันประสิทธิภาพการทำงานของการไทเทรต

สามารถตรวจสอบยืนยันประสิทธิภาพการทำงานได้โดยทำการไทเทรตมาตรฐานกับตัวอย่างอ้างอิงที่ทราบส่วนประกอบ นี่คือกระบวนการไทเทรตทั้งหมดที่มี

ดาวน์โหลดคู่มือพื้นฐานการไทเทรตเพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีการไทเทรต

10 การไทเทรตแบบ Karl Fischer

วิธีการแบบ Karl Fischer สำหรับการหาส่วนประกอบที่เป็นน้ำคือหนึ่งในวิธีการไทเทรตที่ใช้กันบ่อยที่สุด

การไทเทรตจะอ้างอิงถึงปฏิกิริยาที่อธิบายโดย R. W. Bunsen:

I2 + SO2 + 2 H2O → 2 HI + H2SO4

Karl Fischer นักปิโตรเคมีชาวเยอรมัน ได้ค้นพบว่าปฏิกิริยา…

ดาวน์โหลดคู่มือพื้นฐานการไทเทรตเพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีการไทเทรต

  • 10.1 หลักการไทเทรต
  • 10.2 การบ่งชี้จุดยุติของการไทเทรตแบบ Karl Fischer
  • 10.3 ข้อกำหนดเบื้องต้นสำหรับการไทเทรตเชิงปริมาตรแบบ Karl Fischer
  • 10.4 ดริฟต์
  • 10.5 สารทำปฏิกิริยาแบบ Karl Fischer เชิงปริมาตร
    • 10.5.1 สารทำปฏิกิริยาแบบ KF หนึ่งองค์ประกอบ
    • 10.5.2 สารทำปฏิกิริยาแบบ KF สององค์ประกอบ
  • 10.6 การหาความเข้มข้น
  • 10.7 การจัดการตัวอย่าง
    • 10.7.1 ตัวอย่างที่เป็นของแข็ง
    • 10.7.2 ตัวอย่างที่เป็นของเหลว
    • 10.7.3 ความสามารถในการละลายของตัวอย่าง
  • 10.8 การดำเนินการไทเทรตแบบ Karl Fischer เชิงปริมาตร
  • 10.9 เหตุขัดข้องของการไทเทรตแบบ Karl Fischer
    • 10.9.1 อิทธิพลของ pH
    • 10.9.2 ปฏิกิริยาข้างเคียง

11 อภิธานศัพท์