คู่มือ

เทคนิคการสุ่มตัวอย่างสำหรับการกำหนดปริมาณน้ำ

คู่มือ

คำแนะนำและเคล็ดลับในการเลือกตัวอย่างตามหลักการไทเทรตแบบ Karl Fischer

คู่มือการไทเทรตแบบ Karl Fischer ในส่วนที่ 3 — เทคนิคการสุ่มตัวอย่างนั้นจะครอบคลุมถึงกฎและแนวทางที่สำคัญในการเลือกตัวอย่างเพื่อกำหนดปริมาณน้ำตามหลักการแบบ Karl Fischer
คู่มือการไทเทรตแบบ Karl Fischer ในส่วนที่ 3 — เทคนิคการสุ่มตัวอย่างนั้นจะครอบคลุมถึงกฎและแนวทางที่สำคัญในการเลือกตัวอย่างเพื่อกำหนดปริมาณน้ำตามหลักการแบบ Karl Fischer

การเลือกตัวอย่างที่ถูกต้องด้วยวิธีที่เหมาะสมเป็นขั้นตอนสำคัญที่ขาดไม่ได้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องแม่นยำและน่าเชื่อถือ ในกรณีของการกำหนดปริมาณน้ำ การหลีกเลี่ยงการดูดซึมน้ำจากความชื้นในบรรยากาศ เครื่องมือสุ่มตัวอย่าง หรือขวดและภาชนะบรรจุตัวอย่าง จัดเป็นเป้าหมายที่สำคัญที่สุดในการสุ่มตัวอย่าง

เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบต่างๆ ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อให้เหมาะกับลักษณะตัวอย่างที่แตกต่างกันไปนับตั้งแต่มีการไทเทรตแบบ Karl Fischer ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 1935

คู่มือนี้จะอธิบายถึงกฎและแนวทางที่สำคัญบางประการในการเลือกตัวอย่างเพื่อกำหนดปริมาณน้ำตามหลักการแบบ Karl Fischer กลเม็ดเคล็ดลับของเราจัดทำขึ้นโดยใช้ประสบการณ์ของนักเคมีจาก METTLER TOLEDO และได้รับการพิสูจน์แล้วจากการใช้งานและการปฏิบัติงานในแต่ละวัน

ดาวน์โหลดคู่มือการไทเทรตและใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างที่ดีเป็นจุดเริ่มต้นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่น่าเชื่อถือ

คู่มือการไทเทรตแบบ Karl Fischer ส่วนที่ 3 — เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง
สารบัญ

  • 1. การสุ่มตัวอย่าง
  • 1.1 การเลือกตัวอย่าง
  • 1.2 การจัดเก็บตัวอย่าง
  • 1.3 ปริมาณตัวอย่าง
  • 2. การเติมตัวอย่าง
  • 2.1 ตัวอย่างของเหลว
  • 2.2 ตัวอย่างของแข็ง
  • 3. ผลกระทบของความชื้นในบรรยากาศ (การวัดค่าการเบี่ยงเบน)
  • 3.1 ขาตั้งเพื่อการไทเทรต
  • 3.2 การเบี่ยงเบน
  • 4. ข้อมูลเพิ่มเติม
  • 4.1 เอกสารข้อมูล
  • 4.2 คู่มือเพิ่มเติม
  • 4.3 โบรชัวร์การใช้งาน
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง